ประวัติศาสตร์ที่ได้มีการค้นพบปราสาท

ประวัติศาสตร์ที่ได้มีการค้นพบปราสาท

ประวัติศาสตร์ที่ได้มีการค้นพบปราสาทตาเมือนมีจำนวน3ที่ด้วยกัน

ปราสาทบ้านไผ่ เป็นศาสตร์สถานชุมชน

ได้สร้างขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่16ถึง17เป็นปราสาทอิฐขนาดที่เท่ากันจำนวน3หลังเช่นกันและได้ตั้งเรียงเป็นแนวเดียวกันอยู่บนฐานศิลาแลงอีกทั้งยังมีคูน้ำล้อมรอบอยู่ด้านนอกแต่ในสำหรับปัจจุบันปราสาทบริวานที่อยู่ทางด้านทิศใต้นั้นก็ได้พังทายลงไปจนเกือบหมดและเหลือให้เห็นแค่เพียงปราสาทประทานและปราสาทบริวานที่อยู่ทางทิศเหนือเพียงแค่2หลัง

จากการขุดแต่งก็สรุปได้ว่าปราสาทบ้านไผ่เป็นศาสตร์สถานฮินดูศิลปะขอมแบบบาปวน ซึ่งก็ได้พบทับหลังจากจากปราสาททั้ง3หลังนี้แต่สำหรับในปัจจุบันได้ถูกนำเอาไปเก็บรักษาเอาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย

บริเวณไกล้ชายแดนไทยกัมพูชาใน เขตตําบลตาเมียง อำเภอ พนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ได้มีปราสาทขอมอยู่3แห่งที่ได้ตั้งอยู่ไกล้กันคือปราสาทตาเมีอนธม ปราสาทตาเมือนโต๊ด และ ปราสาทตาเมือน ซึ่งก็ได้ถูกเรียกรวมๆกันว่ากลุ่มปราสาทตาเมือน ปราสาทกลุ่มในหินปราสาทตาเมือนถึงแม้ว่าจะเป็นปราสาทศาสตร์สถานโบราณในวัฒนธรรมขอมที่ได้สร้างจากศิลาเหมือนกัน

แต่ปราสาททั้งสามแต่ปราสาททั้ง3ก้ได้มีสถานนะที่แตกต่างกันออกไป ขอม คือวัฒนธรรมที่เคยมีอิทธิพลอย่างกว้างขวางในส่วนของภูมิภาคต่อเนื่องมานานหลายศตวรรษซึ่งก็ยังได้มีการเถียงกันถึงที่มาถึงตัวตนของขอมนักโบราณคดีส่วนหนึ่งเชื่อว่าวัฒนธรรมขอมได้เริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่11หรือที่เรียกว่าสมัยก่อนเมืองพระนครแต่ผู้รู้บางคนได้บอกว่าวัฒนธรรมขอมในยุคแรกนั้น

มันอาจจะย้อนหลังไปไกลกว่านั้นมากคือเริ่มตั้งแต่ราวศตวรรษที่6ก่อนหน้าอาณาจักรเจนละ โดยมันหน้าจะมีศูนย์กลางอยู่ตรงบริเวณแผงจำปาสักของลาวหรือไม่ก็ในจังหวัดอุบลราชนีของประเทศไทยในปัจจุบัน แต่ไม่ว่าวัฒนธรรมขอมจะเริ่มขึ้นเมื่อไดแต่สิ่งหนึ่งที่มันยังคงเป็นสัญลักษณ์หรือหลักฐานแสดงให้ห็นถึงความยิ่งใหญ่ในวัฒนธรรมขอมก็คือสถาปัตยกรรมที่ได้สร้างมาจากอฐิหรือศิลาแลงเพื่อเอาไว้เป็นศาสตร์สถาน

สำหรับประดิษฐานรูปเคารพตามความเชื่อและศรัทธาที่คนเรามักจะเรียกว่าปราสาทขอมหรือว่าปราสาทหิน ในวัฒนธรรมขอมแต่เดิมมานิยมสร้างศาสตร์สถานเอาไว้ตามชุมชนหรือหัวเมืองที่ไกล้ไกลเพื่อใช้เป็นสถานที่เพื่เป็นการประกอบพิธีกรรมทางศาสตร์สนาขอมและของผู้คนในท้องถิ่นจนมาถึงพระเจ้าวรมันที่7

ได้มีการสร้างโครงข่ายคมนาคมเชื่อมต่อเมืองพระนครออกสู่หัวเมืองที่ห่างไกลให้ประชาชนและผู้แสวงบุญได้เดินทางถึงกันได้อย่างสะดวกโดยมีการสร้างธรรมศาลาเอาไว้เป็นอย่างมากถึงประมา121แห่งและอโรคยาศาลาเอาไว้อีก102แห่งซึ่งทุกแห่งจะมีศิลาเอาไว้ทุกแห่งเพื่อเป็นศาสตร์สถานกลาง